Kingdom of Thailand ≠ EDICT OF GOVERNMENT ± In order to promote public education and public safety, equal justice for all, a better informed citizenry, the rule of law, world trade and world peace, this legal document is hereby made available on a noncommercial basis, as it is the right of all humans to know and speak the laws that govern them. TCPS 490-2547 (2004) (Thai): CRISPY LOTUS SEED มผช.๔๙๐/๒๕๔๗ มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน เมล็ดบัวกรอบ ๑. ขอบขาย ๑.๑ มาตรฐานผลติ ภณั ฑช มุ ชนนคี้ รอบคลมุ เฉพาะเมลด็ บวั กรอบพรอ มบรโิ ภคทบี่ รรจใุ นภาชนะบรรจุ ๒. บทนิยาม ความหมายของคําที่ใชในมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนนี้ มีดังตอไปนี้ ๒.๑ เมล็ดบัวกรอบ หมายถึง ผลิตภัณฑที่ไดจากการนําเมล็ดบัวมาลอกเปลือก แยกตนออน นํามาทอด หรืออบแหง อาจปรุงรสดวยเครื่องปรุงรส เชน เกลือ น้ําตาล เนย เนยเทียม ๓. คุณลักษณะที่ตองการ ๓.๑ ลักษณะทั่วไป ตอ งแหง อาจแตกหกั ไดบ า งเลก็ นอ ย ไมพ บเปลอื กและตน ออ นของเมลด็ บวั ๓.๒ สี ตองมีสีที่ดีตามธรรมชาติของสวนประกอบที่ใช และสม่ําเสมอ ๓.๓ กลิ่นรส ตอ งมกี ลนิ่ รสทดี่ ตี ามธรรมชาตขิ องสว นประกอบทใี่ ช ปราศจากกลนิ่ รสอนื่ ทไี่ มพ งึ ประสงค เชน กลนิ่ อบั กลิ่นหืน รสขม ๓.๔ ลักษณะเนื้อ ตอ งกรอบ ไมเ หนยี ว เมื่อตรวจสอบโดยวิธีใหคะแนนตามขอ ๘.๑ แลว ตองไดคะแนนเฉลี่ยของแตละลักษณะจากผูตรวจสอบ ทุกคนไมนอยกวา ๓ คะแนน และไมมีลักษณะใดได ๑ คะแนนจากผูตรวจสอบคนใดคนหนึ่ง ๓.๕ สิ่งแปลกปลอม ตองไมพบสิ่งแปลกปลอมที่ไมใชสวนประกอบที่ใช เชน เสนผม ดิน ทราย กรวด ชิ้นสวนหรือ สิ่งปฏิกูลจากสัตว - ๑ - มผช.๔๙๐/๒๕๔๗ ๓.๖ วัตถุเจือปนอาหาร ๓.๖.๑ หากมีการใชวัตถุปรุงแตงกลิ่นรส ใหใชในปริมาณที่เหมาะสม ๓.๖.๒ หามใชสารกันหืนทุกชนิด ยกเวนกรณีติดมากับน้ํามันที่ใชทอด ตองไมเกิน ๕๐ มิลลิกรัม ตอ กโิ ลกรมั ๓.๗ ความชื้น ตองไมเกินรอยละ ๖ โดยน้ําหนัก ๓.๘ คาเพอรออกไซด ตองไมเกิน ๓๐ มิลลิกรัมสมมูลเพอรออกไซดออกซิเจนตอกิโลกรัม ๓.๙ จุลินทรีย ๓.๙.๑ จํานวนจุลินทรียทั้งหมด ตองไมเกิน ๑ ๑o๓ โคโลนีตอตัวอยาง ๑ กรัม × ๓.๙.๒ ยีสตและรา ตองนอยกวา ๑๐ โคโลนีตอตัวอยาง ๑ กรัม ๔. สขุ ลกั ษณะ ๔.๑ สขุ ลกั ษณะในการทาํ เมลด็ บวั กรอบ ใหเ ปน ไปตามคาํ แนะนาํ ตามภาคผนวก ก. ๕. การบรรจุ ๕.๑ ใหบ รรจเุ มลด็ บวั กรอบในภาชนะบรรจทุ สี่ ะอาด แหง ผนกึ ไดเ รยี บรอ ย สามารถปอ งกนั การปนเปอ น จากสงิ่ สกปรกภายนอกได ๕.๒ นา้ํ หนกั สทุ ธขิ องเมลด็ บวั กรอบในแตล ะภาชนะบรรจ ุ ตอ งไมน อ ยกวา ทรี่ ะบไุ วท ฉี่ ลาก ๖. เครอื่ งหมายและฉลาก ๖.๑ ที่ภาชนะบรรจุเมล็ดบัวกรอบทุกหนวย อยางนอยตองมีเลข อักษร หรือเครื่องหมายแจงรายละเอียด ตอ ไปนใี้ หเ หน็ ไดง า ย ชดั เจน (๑) ชื่อเรียกผลิตภัณฑ เชน เมล็ดบัวกรอบ เมล็ดบัวทอดกรอบ เมล็ดบัวอบกรอบ (๒) ชนิดและปริมาณวัตถุเจือปนอาหาร (ถามี) (๓) นา้ํ หนกั สทุ ธิ (๔) วนั เดอื น ปท ที่ าํ และวนั เดอื น ปท หี่ มดอาย ุ หรอื ขอ ความวา “ควรบรโิ ภคกอ น (วนั เดอื น ป) ” (๕) ขอแนะนําในการเก็บรักษา (๖) ชอื่ ผทู าํ หรอื สถานทที่ าํ พรอ มสถานทตี่ งั้ หรอื เครอื่ งหมายการคา ทจี่ ดทะเบยี น ในกรณที ใี่ ชภ าษาตา งประเทศ ตอ งมคี วามหมายตรงกบั ภาษาไทยทกี่ าํ หนดไวข า งตน -๒- มผช.๔๙๐/๒๕๔๗ ๗. การชักตัวอยางและเกณฑตัดสิน ๗.๑ รนุ ในทนี่ ี้ หมายถงึ เมลด็ บวั กรอบทที่ าํ โดยกรรมวธิ เี ดยี วกนั ในระยะเวลาเดียวกัน ๗.๒ การชักตัวอยางและการยอมรับ ใหเปนไปตามแผนการชักตัวอยางที่กําหนดตอไปนี้ ๗.๒.๑ การชกั ตวั อยา งและการยอมรบั สาํ หรบั การทดสอบสงิ่ แปลกปลอม การบรรจ ุ และเครอื่ งหมาย และฉลาก ใหช กั ตวั อยา งโดยวธิ สี มุ จากรนุ เดยี วกนั จาํ นวน ๓ หนว ยภาชนะบรรจ ุ เมอื่ ตรวจสอบ แลว ทุกตัวอยางตองเปนไปตามขอ ๓.๕ ขอ ๕. และขอ ๖. จึงจะถือวาเมลด็ บวั กรอบรุนนั้น เปนไปตามเกณฑที่กําหนด ๗.๒.๒ การชักตัวอยางและการยอมรับ สําหรับการทดสอบลักษณะทั่วไป สี กลิ่นรส และลักษณะเนื้อ ใหใ ชต วั อยา งทผี่ า นการทดสอบตามขอ ๗.๒.๑ แลว จาํ นวน ๓ หนว ยภาชนะบรรจ ุ เมอื่ ตรวจสอบ แลวตัวอยางตองเปนไปตามขอ ๓.๑ ถึงขอ ๓.๔ จึงจะถือวาเมลด็ บวั กรอบรุนนั้นเปนไปตาม เกณฑที่กําหนด ๗.๒.๓ การชกั ตวั อยา งและการยอมรบั สาํ หรบั การทดสอบวตั ถเุจอื ปนอาหาร ความชนื้ และคา เพอรอ อกไซด ใหช กั ตวั อยา งโดยวธิ สี มุ จากรนุ เดยี วกนั จาํ นวน ๓ หนว ยภาชนะบรรจ ุ นาํ มาทาํ เปน ตวั อยา งรวม เมอื่ ตรวจสอบแลว ตวั อยา งตอ งเปน ไปตามขอ ๓.๖ ถงึ ขอ ๓.๘ จงึ จะถอื วา เมลด็ บวั กรอบรนุ นนั้ เปนไปตามเกณฑที่กําหนด ๗.๒.๔ การชักตัวอยางและการยอมรับ สําหรับการทดสอบจุลินทรีย ใหชักตัวอยางโดยวิธีสุมจาก รนุ เดยี วกนั จาํ นวน ๓ หนว ยภาชนะบรรจ ุ โดยมนี า้ํ หนกั รวมไมน อ ยกวา ๒๐๐ กรมั กรณตี วั อยา ง ไมพอใหชักตัวอยางเพิ่มโดยวิธีสุมจากรุนเดียวกันใหไดตัวอยางที่มีน้ําหนักรวมตามที่กําหนด เมอื่ ตรวจสอบแลว ตวั อยา งตอ งเปน ไปตามขอ ๓.๙ จงึ จะถอื วา เมลด็ บวั กรอบรนุ นนั้ เปน ไปตาม เกณฑที่กําหนด ๗.๓ เกณฑตัดสิน ตัวอยางเมล็ดบัวกรอบตองเปนไปตามขอ ๗.๒.๑ ขอ ๗.๒.๒ ขอ ๗.๒.๓ และขอ ๗.๒.๔ ทุกขอ จึงจะถือวาเมลด็ บวั กรอบ รุนนั้นเปนไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนนี้ ๘. การทดสอบ ๘.๑ การทดสอบลกั ษณะทวั่ ไป ส ี กลนิ่ รส และลกั ษณะเนอื้ ๘.๑.๑ ใหแตงตั้งคณะผูตรวจสอบ ประกอบดวยผูที่มีความชํานาญในการตรวจสอบเมล็ดบัวกรอบ อยา งนอ ย ๕ คน แตล ะคนจะแยกกนั ตรวจและใหค ะแนนโดยอสิ ระ ๘.๑.๒ เทตวั อยา งเมลด็ บวั กรอบลงในจานกระเบอื้ งสขี าว ตรวจสอบโดยการตรวจพนิ จิ และชมิ ๘.๑.๓ หลกั เกณฑก ารใหค ะแนน ใหเ ปน ไปตามตารางท ี่ ๑ - ๓ - มผช.๔๙๐/๒๕๔๗ ตารางที่ ๑ หลักเกณฑการใหคะแนน (ขอ ๘.๑.๓) ระดับการตัดสิน (คะแนน) ลักษณะที่ตรวจสอบ เกณฑที่กําหนด ดีมาก ดี พอใช ตองปรับปรุง ลักษณะทั่วไป ตอ งแหง อาจแตกหกั ไดบ า งเลก็ นอ ย ไม ๔ ๓ ๒ ๑ พบเปลอื กและตน ออ นของเมลด็ บวั สี ตองมีสีที่ดีตามธรรมชาติของสวน ๔ ๓ ๒ ๑ ประกอบที่ใช และสม่ําเสมอ กลิ่นรส ตองมีกลิ่นรสที่ดีตามธรรมชาติของสวน ๔ ๓ ๒ ๑ ประกอบทใี่ ช ปราศจากกลนิ่ รสอนื่ ทไี่ มพ งึ ประสงค เชน กลนิ่ อบั กลิ่นหืน รสขม ลักษณะเนื้อ ตอ งกรอบ ไมเ หนยี ว ๔ ๓ ๒ ๑ ๘.๒ การทดสอบสงิ่ แปลกปลอม ภาชนะบรรจ ุ และเครอื่ งหมายและฉลาก ใหตรวจพินิจ ๘.๓ การทดสอบวัตถุเจือปนอาหารและความชื้น ใหใ ชว ธิ ที ดสอบตาม AOAC หรอื วธิ ที ดสอบอนื่ ทเี่ ปน ทยี่ อมรบั ๘.๔ การทดสอบคาเพอรออกไซด ใหใชวิธีทดสอบตาม IUPAC หรือวิธีทดสอบอื่นที่เปนที่ยอมรับ ๘.๕ การทดสอบจุลินทรีย ใหใ ชว ธิ ที ดสอบตาม AOAC หรอื BAM หรอื วธิ ที ดสอบอนื่ ทเี่ ปน ทยี่ อมรบั ๘.๖ การทดสอบน้ําหนักสุทธิ ใหใชเครื่องชั่งที่เหมาะสม -๔- มผช.๔๙๐/๒๕๔๗ ภาคผนวก ก. สุขลักษณะ (ขอ ๔.๑) ก.๑ สถานที่ตั้งและอาคารที่ทํา ก.๑.๑ สถานทตี่ งั้ อาคารและทใี่ กลเ คยี ง อยใู นทที่ จี่ ะไมท าํ ใหผ ลติ ภณั ฑท ที่ าํ เกดิ การปนเปอ นไดง า ย โดย ก.๑.๑.๑ สถานที่ตั้งตัวอาคารและบริเวณโดยรอบ สะอาด ไมมีน้ําขังแฉะและสกปรก ก.๑.๑.๒ อยูหางจากบริเวณหรือสถานที่ที่มีฝุน เขมา ควัน มากผิดปกติ ก.๑.๑.๓ ไมอยูใกลเคียงกับสถานที่นารังเกียจ เชน บริเวณเพาะเลี้ยงสัตว แหลงเก็บหรือกําจัดขยะ ก.๑.๒ อาคารที่ทํามีขนาดเหมาะสม มีการออกแบบกอสรางในลักษณะที่งายแกการบํารุงรักษา การทํา ความสะอาด และสะดวกในการปฏิบัติงาน โดย ก.๑.๒.๑ พื้น ฝาผนัง และเพดานของอาคารที่ทํา กอสรางดวยวัสดุที่คงทน เรียบ ทําความสะอาด และซอมแซมใหอยูในสภาพที่ดีตลอดเวลา ก.๑.๒.๒ แยกบริเวณที่ทําออกเปนสัดสวน ไมอยูใกลหองสุขา ไมมีสิ่งของที่ไมใชแลวหรือไมเกี่ยว ของกับการทําอยูในบริเวณที่ทํา ก.๑.๒.๓ พื้นที่ปฏิบัติงานไมแออัด มีแสงสวางเพียงพอ และมีการระบายอากาศที่เหมาะสม ก.๒ เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณที่ใชทํา ก.๒.๑ ภาชนะหรอื อปุ กรณในการทาํทสี่ มั ผสั กบั ผลติ ภณั ฑ ทาํจากวสั ดผุ วิ เรยี บ ไมเปน สนมิ ลางทาํความสะอาดไดง าย ก.๒.๒ เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณที่ใช สะอาด เหมาะสมกับการใชงาน ไมกอใหเกิดการปน เปอนติดตั้งไดงาย มีปริมาณเพียงพอ รวมทั้งสามารถทําความสะอาดไดงายและทั่วถึง ก.๓ การควบคุมกระบวนการทํา ก.๓.๑ วัตถุดิบและสวนผสมในการทํา สะอาด มีคุณภาพ มีการลางหรือทําความสะอาดกอนนําไปใช ก.๓.๒ การทาํ การเกบ็ รกั ษา การขนยาย และการขนสง ใหม กี ารปอ งกนั การปนเปอ นและการเสอื่ มเสยี ของผลติ ภณั ฑ ก.๔ การสุขาภิบาล การบํารุงรักษา และการทําความสะอาด ก.๔.๑ นา้ํทใี่ชล างทาํความสะอาดเครอื่ งมอื เครอื่ งจกั ร อปุ กรณ และมอื ของผทู าํ เปน นา้ํสะอาดและมปี รมิ าณเพยี งพอ ก.๔.๒ มวี ธิ กี ารปอ งกนั และกาํ จดั สตั วน าํ เชอื้ แมลงและฝนุ ผง ไมใ หเขา ในบรเิวณทที่ าํ ตามความเหมาะสม ก.๔.๓ มกี ารกาํ จดั ขยะ สงิ่ สกปรก และนา้ํ ทงิ้ อยา งเหมาะสม เพอื่ ไมก อ ใหเกดิ การปนเปอ นกลบั ลงสผู ลติ ภณั ฑ ก.๔.๔ สารเคมที ใี่ ชล า งทาํ ความสะอาด และใชก าํ จดั สตั วน าํ เชอื้ และแมลง และใชใ นปรมิ าณทเี่หมาะสม และเก็บแยกจากบริเวณที่ทํา เพื่อไมใหปนเปอนลงสูผลิตภัณฑได ก.๕ บุคลากรและสุขลักษณะของผูทํา ผูทําทุกคน ตองรักษาความสะอาดสวนบุคคลใหดี เชน สวมเสื้อผาที่สะอาด มีผาคลุมเพื่อปองกันไม ใหเสนผมหลนลงในผลิตภัณฑ ไมไวเล็บยาว ลางมือใหสะอาดทุกครั้งกอนปฏิบัติงาน หลังการใช หองสุขาและเมื่อมือสกปรก - ๕ -