ebook img

TCPS 247-2552: SCARF PDF

2009·0.59 MB·Thai
Save to my drive
Quick download
Download
Most books are stored in the elastic cloud where traffic is expensive. For this reason, we have a limit on daily download.

Preview TCPS 247-2552: SCARF

Kingdom of Thailand ≠ EDICT OF GOVERNMENT ± In order to promote public education and public safety, equal justice for all, a better informed citizenry, the rule of law, world trade and world peace, this legal document is hereby made available on a noncommercial basis, as it is the right of all humans to know and speak the laws that govern them. TCPS 247-2552 (2009) (Thai): SCARF ประกาศสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ฉบับที่ ๑๕๖๓ (พ.ศ. ๒๕๕๒) เรื่อง ยกเลกิ และกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑชมุ ชน ผาพันคอ โดยที่เปน การสมควรปรบั ปรุงมาตรฐานผลิตภณั ฑชุมชน ผา พนั คอ มาตรฐานเลขท ี่ มผช.๒๔๗/๒๕๔๗ และคณะอนุกรรมการพิจารณามาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน คณะที่ ๒ มีมติในการประชุมครั้งที่ ๑๖-๓/ ๒๕๕๒ เมื่อวันที่ ๒๘ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๒ ใหยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ผาพันคอ มาตรฐานเลขที่ มผช.๒๔๗/๒๕๔๗ และกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑชมุ ชน ผาพันคอ ขึ้นใหม  สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมจึงออกประกาศยกเลิกประกาศสํานักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ฉบับที่ ๒๕๓ (พ.ศ.๒๕๔๗) ลงวันที่ ๑ มีนาคม พ.ศ.๒๕๔๗ และออกประกาศ กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ผาพันคอ มาตรฐานเลขที่ มผช.๒๔๗/๒๕๕๒ ขึ้นใหม ดังมีรายการละเอียด ตอทายประกาศนี้ ทั้งนี้ ใหมีผลบังคับใชนับแตวันที่ประกาศ เปนตนไป ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๒ รัตนาภรณ จึงสงวนสิทธ ิ์ เลขาธิการสํานกั งานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม มผช.๒๔๗/๒๕๕๒ มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ผาพันคอ ๑. ขอบขาย ๑.๑ มาตรฐานผลติ ภัณฑชุมชนนี้ครอบคลุมเฉพาะผา พันคอที่ทอดวยกี่เอว กี่พื้นบาน หรือกี่กระตุก และถัก ดวยเครื่องถักมือ โดยใชเสนดา ยที่ทําจากเสนใยธรรมชาติ เสน ใยประดิษฐ และเสนใยผสม ๒. บทนิยาม ความหมายของคําที่ใชในมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนนี้ มีดังตอไปน ี้ ๒.๑ ผาพันคอ หมายถึง ผลิตภณั ฑแตงกายชนิดหนึ่งสาํ หรับใชพันคอเพอื่ ความสวยงามและปองกันความหนาว เย็น มีลักษณะเปนสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีความกวางไมนอยกวา ๗๐ เซนติเมตร กรณีสี่เหลี่ยมผืนผามคี วามกวาง (ไมรวมชายครยุ ) อยูระหวาง ๑๕ เซนติเมตร ถึง ๕๐ เซนติเมตร และความยาวไมนอยกวา ๑๘๐ เซนติเมตร ๒.๒ เสนใยธรรมชาติ (natural fibres) หมายถึง เสนใยที่มาจากพืช เชน ฝาย ลินิน ปาน และเสนใยที่มาจากสัตว เชน ขนสัตว ไหม ๒.๓ เสนไหมแท หมายถึง เสนใยโปรตีนทไี่ ดจากตัวหนอนไหม ๒.๔ เสนใยประดษิ ฐ (man-made fibres) หมายถึง เสนใยสังเคราะห เชน พอลิเอสเตอร ไนลอน อะคริลิก และเสนใยกึ่งสังเคราะห (regenerated fibres) เชน แอซีเทต วิสโคส (เรยอน) ๒.๕ เสนใยผสม หมายถึง เสนใยธรรมชาติผสมกับเสนใยธรรมชาติ เสนใยธรรมชาติผสมกบั เสนใยประดิษฐ  หรือเสน ใยประดิษฐผสมกับเสนใยประดิษฐ เชน ฝายผสมกับไหม ฝายผสมพอลิเอสเตอร วิสโคสผสมพอลิเอสเตอร ๓. ประเภท ๓.๑ ผาพันคอ แบง เปน ๒ ประเภท คือ ๓.๑.๑ ประเภททอ ๓.๑.๒ ประเภทถัก - ๑ - มผช.๒๔๗/๒๕๕๒ ๔. ขนาด ๔.๑ ความกวาง หากมิไดมีการตกลงกันเปนอยางอื่นระหวางผูซื้อกับผูขาย ใหเปนไปตามที่ระบุไวที่ฉลาก แตตองไมนอยกวา ๗๐ เซนติเมตร กรณีเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส และอยูระหวาง ๑๕ เซนติเมตร ถึง ๕๐ เซนติเมตร กรณีเปน รูปสี่เหลี่ยมผืนผา โดยมีเกณฑความคลาดเคลื่อน ๓ เซนติเมตร ± การทดสอบใหใชอุปกรณวัดที่ทําจากไมหรือโลหะที่มีความละเอียดไมนอยกวา ๑ มิลลิเมตร หรือ ๑ สวน ๘ นิ้ว แลวแตกรณี และมีความยาวไมนอยกวา ๑ เมตร ๔.๒ ความยาว หากมิไดมีการตกลงกันเปนอยางอื่นระหวางผูซื้อกับผูขาย ใหเปนไปตามที่ระบุไวที่ฉลาก แตตองไมนอย กวา ๑๘๐ เซนติเมตร โดยมีเกณฑความคลาดเคลื่อน ๕ เซนติเมตร ± การทดสอบใหใชอุปกรณวัดที่ทําจากไมหรือโลหะที่มีความละเอียดไมนอยกวา ๑ มิลลิเมตร หรือ ๑ สวน ๘ นิ้ว แลวแตกรณี และมีความยาวไมนอยกวา ๑ เมตร ๕. คุณลักษณะที่ตองการ ๕.๑ ลักษณะทั่วไป ตองสะอาด ไมมีรอยเปรอะเปอน อยูในสภาพที่เรียบรอยตลอดทั้งผืน และไมมีขอบกพรองที่มีผลเสียตอ การใชงานใหเห็นอยางชัดเจน เชน รู รอยแยก สีดาง ลายผิด เสนดายขาด ริมผาเสีย ๕.๒ ริมผาและชายผา ๕.๒.๑ ตองสอยใหเ รียบรอย ประณีต สวยงาม ไมมีรอยแยก ยน หรือขาดหลุดลุย ๕.๒.๒ การปลอยเสนดายชายครุย (ถามี) ทั้งชายครุยที่เปนเสนดายยืนในตัวและเสนดายพิเศษที่เพิ่ม เสนดายที่ปลอยไวหรือกลุมเสนดายที่ถักหรือมัดเปนชายครุยตองประณีตและสวยงาม เมื่อทดสอบตามขอ ๙.๑ แลว ผลการทดสอบลักษณะทั่วไปและริมผาและชายผาของผูตรวจสอบแตละคนตอง ไมมีลักษณะใดลักษณะหนึ่งไมผาน ๕.๓ ชนิดเสนใยทใี่ ชทํา ตองเปนไปตามที่ระบุไวที่ฉลาก การทดสอบใหปฏิบัติตามขอ ๙.๒ ๕.๔ ความเปนกรด-ดาง ตองอยูระหวาง ๕.๐ ถึง ๗.๕ การทดสอบใหปฏิบัตติ าม ISO 3071 ๕.๕ สีเอโซที่ใหแอโรแมติกแอมีน ๒๔ ตัว (รายละเอียดดังในภาคผนวก ก.) (ยกเวนสียอมธรรมชาติ) ตองไมเกิน ๓๐ มิลลิกรัมตอกิโลกรัม การทดสอบใหปฏิบัติตาม EN 14362 Part 1 และ EN 14362 Part 2 - ๒ - มผช.๒๔๗/๒๕๕๒ ๕.๖ การเปลี่ยนแปลงขนาดภายหลังการซักและทําใหแหง ตองไมเกินรอยละ ๑๐ การทดสอบใหปฏิบัตติ ามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม วิธีทดสอบสิ่งทอ เลม ๒๑ การเปลี่ยนแปลง ขนาดภายหลังการซักและทําใหแหง มาตรฐานเลขที่ มอก.๑๒๑ เลม ๒๑ ซักโดยใชเ ครื่องซักผาแบบ ก. เลขที่วิธีทดสอบเทียบเทาการซักดวยมือ และทําใหแหงโดยวิธีแขวนราว (ประเภททอ) และวิธตี ากราบ (ประเภทถัก) ๕.๗ ความคงทนของสีตอการซัก (ยกเวนผาสีขาว) ตองไมนอยกวาเกรยสเกลระดับ ๓ ทั้งการเปลี่ยนสีและการเปอนสี การทดสอบใหปฏิบัติตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม วิธีทดสอบสิ่งทอ เลม ๓ ความคงทนของสีตอ การซักดวยสบู หรือสบูและโซดา มาตรฐานเลขที่ มอก.๑๒๑ เลม ๓ โดยใชวิธีทดสอบ A(1) ๕.๘ ความคงทนของสีตอเหงื่อ ทั้งสภาพกรดและสภาพดาง (ยกเวนผาสีขาว) ตองไมนอยกวาเกรยสเกลระดับ ๓ ทั้งการเปลี่ยนสีและการเปอนสี การทดสอบใหปฏิบัติตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม วิธีทดสอบสิ่งทอ เลม ๔ ความคงทนของสีตอเหงื่อ มาตรฐานเลขที่ มอก.๑๒๑ เลม ๔ ๖. การบรรจุ ๖.๑ ใหบรรจุผาพันคอในบรรจุภัณฑที่เหมาะสม สะอาด เรียบรอย และสามารถปองกันความเสียหายที่อาจ เกิดขึ้นกับผาพันคอได การทดสอบใหทําโดยการตรวจพินิจ ๗. เครื่องหมายและฉลาก ๗.๑ ที่ฉลากหรือบรรจุภัณฑผาพันคอทุกหนวย อยางนอยตองมีเลข อักษร หรือเครื่องหมายแจงรายละเอียด ตอไปนี้ใหเห็นไดงา ย ชัดเจน (๑) ชื่อผลิตภัณฑ  (ตามชื่อ มผช.) (๒) ประเภท (๓) ชนิดเสนใยทใี่ ชทํา (๔) ความกวางและความยาว เปน นิ้วหรือเซนติเมตร (๕) กรณีใชสีธรรมชาติใหระบ ุ (๖) กรณีใชผาทอมือใหระบ ุ (๗) ขอแนะนําในการใชและการดูแลรักษา (๘) ประวัติผลิตภัณฑ(ถามี) (๙) เดือน ปที่ทํา (๑๐) ชื่อผูทําหรือสถานที่ทํา พรอมสถานที่ตั้ง หรือเครื่องหมายการคาที่จดทะเบียน ในกรณีที่ใชภาษาตางประเทศ ตองมีความหมายตรงกับภาษาไทยที่กําหนดไวขางตน - ๓ - มผช.๒๔๗/๒๕๕๒ ๘. การชักตัวอยางและเกณฑตัดสิน ๘.๑ รุน ในที่นี้ หมายถึง ผาพันคอประเภทเดียวกัน ที่ทําโดยกรรมวิธีเดียวกัน ที่ทําหรือสงมอบหรือซื้อขายใน ระยะเวลาเดียวกัน ๘.๒ การชักตัวอยางและการยอมรับ ใหเปนไปตามแผนการชักตัวอยางที่กําหนดตอไปน ี้ ๘.๒.๑ การชักตัวอยางและการยอมรบั สาํ หรบั การทดสอบขนาด ลักษณะทั่วไป การเย็บ การบรรจุ และเครื่องหมาย และฉลาก ใหชักตัวอยางโดยวิธีสุมจากรุนเดียวกัน จํานวน ๒ ตัวอยาง เมื่อตรวจสอบแลวตัวอยาง ตองเปนไปตามขอ ๔. ขอ ๕.๑ ขอ ๕.๒ ขอ ๖. และขอ ๗. ทุกรายการ จึงจะถือวา ผาพนั คอรุนนั้น เปนไปตามเกณฑที่กําหนด ๘.๒.๒ การชักตัวอยางและการยอมรับ สําหรับการทดสอบชนิดเสนใยที่ใช ความเปนกรด-ดาง สีเอโซที่ให แอโรแมติกแอมีน ๒๔ ตัว (ยกเวนสียอมธรรมชาติ) การเปลี่ยนแปลงขนาดภายหลังการซักแลวทําให แหง ความคงทนของสีตอการซัก (ยกเวนผาสีขาว) และความคงทนของสีตอเหงื่อ ทั้งสภาพกรดและ สภาพดาง (ยกเวนผาสีขาว) ใหใชตัวอยางที่ผานการทดสอบตามขอ ๘.๒.๑ แลว จํานวน ๑ ตัวอยาง เมื่อตรวจสอบแลว ตัวอยางตองเปนไปตามขอ ๕.๓ ถึงขอ ๕.๘ ทุกรายการ จึงจะถือวาผาพันคอรุน นั้นเปนไปตามเกณฑที่กําหนด ๘.๓ เกณฑตัดสนิ ตัวอยางผาพันคอตองเปนไปตามขอ ๘.๒.๑ และขอ ๘.๒.๒ ทุกขอ จึงจะถือวาผาพันคอรุนนั้นเปนไปตาม มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนนี้ ๙. การทดสอบ ๙.๑ การทดสอบลกั ษณะทั่วไปและริมผาและชายผา ๙.๑.๑ ใหแตงตั้งคณะผูตรวจสอบ ประกอบดวยผูที่มีความเชี่ยวชาญในการตรวจสอบผาพันคออยางนอย ๓ คน แตละคนจะแยกกนั ตรวจโดยอิสระ ในแตละลักษณะของผลการตรวจสอบใหตดั สนิ วาผานหรือ ไมผานเทานั้น ๙.๑.๒ ใหคลี่ผาออกจากพับหรือชิ้น ขึงผาในที่ที่มีแสงสวางอยางเพียงพอ โดยใหเสนดายพุงอยูตาม แนวนอนระดับสายตา แลวตรวจพินิจ ๙.๒ การทดสอบชนิดเสนใยที่ใช  ๙.๒.๑ การตรวจลักษณะทั่วไปของเสนใยโดยใชสมบัติทางกายภาพและกลองจุลทรรศน ๙.๒.๑.๑ ใหแยกเสนดายยืนและเสนดายพุงออกจากกัน หากเสนดายมีความแตกตางกันในเรื่องของสี ความเงา ขนาด หรือลักษณะอื่นๆใหแยกเสนดายออกเปนแตละกลุมตามลักษณะทางกายภาพ และแยกทดสอบ ๙.๒.๑.๒ วางเสนใยจํานวนเล็กนอยลงบนแผนสไลด เขี่ยเสนใยใหออกจากกัน แลวหยดน้ํามันแรหรือ ของเหลวอื่นๆ ลงไปหนึ่งหยด ปดทับดวยแผนแกวบาง แลวตรวจสอบลักษณะเสนใยดวย กลองจุลทรรศน - ๔ - มผช.๒๔๗/๒๕๕๒ ๙.๒.๑.๓ สังเกตลักษณะตามยาวของเสนใยและแยกประเภทของเสนใยเปน ๔ กลุม ดังนี้ (๑) เสนใยที่มีเกล็ดที่ผิว ไดแ ก เสนใยกลุมเสนใยขนสัตว  (๒) เสนใยที่มีเสนขีดขวาง (cross markings) ตามแนวยาวของเสนใย ไดแก เสน ใยในกลุม เสนใยพืช ยกเวนเสนใยฝาย (๓) เสนใยท่มี ีการบิดเปน เกลียวจะเปนเสนใยฝาย (๔) เสนใยอื่นๆ ไดแก เสนใยประดิษฐทุกชนิด หมายเหตุ รายละเอียดและรูปแสดงลกั ษณะภายนอกของเสนใยเมื่อดูดวยกลองจุลทรรศนให ดูในมาตรฐานผลิตภณั ฑอุตสาหกรรม วิธีทดสอบสิ่งทอ เลม ๑๕ ชนดิ เสนใย มาตรฐาน เลขที่ มอก.๑๒๑ เลม ๑๕ ๙.๒.๒ การเผาไหมของเสนใย ๙.๒.๒.๑ ใชปากคีบจับเสนใยจาํ นวนเล็กนอยแลวนาํ ไปจอขางเปลวไฟ สังเกตวาเสนใยมีการหลอม หรือ หดตัวจากเปลวไฟหรือไม ๙.๒.๒.๒ เลื่อนเสนใยเขาไปในเปลวไฟชาๆ และระมัดระวัง สังเกตดูวาเสนใยติดไฟหรือไม เม่ือเสนใย ติดไฟดีแลวคอยๆ นาํ เสนใยออกจากเปลวไฟ แลวสังเกตดูวาเสนใยยังติดไฟตอหรือไม ๙.๒.๒.๓ ถาเสนใยยังติดไฟอยูใหเปาไฟใหดับ แลวดมกลิ่นควันพรอมทั้งสังเกตดูสีและลักษณะของเถาที่เหลือ ๙.๒.๒.๔ เปรียบเทียบปฏิกิริยาตอเปลวไฟและลักษณะการเผาไหมกับ ตารางท ี่ ๑ การเผาไหมของเสนใย หรือเปรียบเทียบกับเสนใยที่ทราบชนิดแลว กรณีที่มีสารหนวงไฟของเสนใยบางชนิด เชน ฝาย เรยอน แอซีเตต อาจทําใหลักษณะการติดไฟ กลิ่น ลักษณะเถาเสนใยเหลานั้นเปลี่ยนไป สวนเสนใยที่มสี ีโดยเฉพาะสจี ากสารสี (pigment) จะมีสตี กคางอยใู นเถา ๙.๒.๒.๕ เสนใยบางชนิดจะมีกลิ่นจากการเผาไหมที่เปนลักษณะเฉพาะตัว คือ เสนใยขนสัตวและเสนใย ประดิษฐที่ทาํ จากโปรตีน (azlon) จะมีกลิ่นเหมือนผมหรือขนนกไหมไฟ เสนใยพืชและวิสโคส (เรยอน) จะมีกลิ่นเหมือนกระดาษไหมไฟ ยางและเสนใยประดิษฐชนิดอื่นๆ เชน อะคริลิก ไนลอน และสแปนเดกซจะมีกลิ่นเฉพาะตัวที่สามารถบอกไดจากประสบการณ - ๕ - มผช.๒๔๗/๒๕๕๒ ตารางที่ ๑ การเผาไหมของเสนใย (ขอ ๙.๒.๒) ชนิดเสนใย หลอมตัว หดตัว ลุกไหมขณะอยู ไหมลุกลามเมอื่ ลักษณะเถา ลักษณะ เมื่อเขาใกล จากเปลว ในเปลวไฟ ออกจากเปลวไฟ ที่ปรากฏ เปลวไฟ ไฟ เสนใยธรรมชาต ิ ไหม ใช ใช ใช ชา กอนสีดํา เปราะ ขนสัตว ใช ใช ใช ชา กอนรูปรางไมแ นนอนสีดาํ เซลลูโลส ไม  ไม  ใช ใช สีเทา เบา นุม เสนใยประดษิ ฐ อะคริลิก ใช ใช ใช ใช กอนแข็งสีดํา รูปรางไมแนน อน แอซีเทต ใช ใช ใช ใช กอนแข็งสีดํา รูปรางไมแนน อน พอลิเอสเทอร ใช ใช ใช ใช กอนแข็งกลมสีดํา ไนลอน ใช ใช ใช ใช กอนแข็งกลมสีเทา โลหะ (metallic) ใช ใช ไม  ไม  กอนโลหะ วิสโคส(เรยอน) ไม  ไม  ใช ใช ไมมีเถา ๙.๒.๓ การละลายของเสนใย ๙.๒.๓.๑ กรณีทดสอบทอี่ ุณหภูมิหอง ใหวางเสนใยจํานวนเล็กนอยลงบนกระจกนาฬิกาหรือในหลอดทดลอง หรือในบีกเกอร ขนาด ๕๐ ลูกบาศกเซนติเมตร ใสตัวทําละลายตามตารางที่ ๒ ลงไปใหทวม เสนใย ใชปริมาตรตัวทาํ ละลายประมาณ ๑ ลูกบาศกเซนติเมตร ตอเสนใย ๑๐ มิลลิกรัม ๙.๒.๓.๒ กรณีทดสอบที่จุดเดือดของตัวทําละลาย ใหตมตัวทําละลายใหเดือดโดยตั้งบนเตาไฟฟาชนิด แผนเหล็ก ในตูดูดควัน ปรับอุณหภูมิใหตัวทําละลายเดือดชาๆ และระวังอยาใหตัวทําละลาย เดือดจนแหง จากนั้นหยอนตัวอยางเสนใยลงไปในตัวทําละลายที่เดือด ๙.๒.๓.๓ กรณีทดสอบที่อุณหภูมิใดอณุ หภูมิหนึ่ง ใหตมน้ําในบีกเกอรบนเตาไฟฟาชนิดแผนเหล็กควบคุม อุณหภูมิของน้ําใหไดตามที่ตองการ ใสตัวอยางเสนใยและตัวทาํ ละลายลงในหลอดแกวทดลอง แลวจุมหลอดทดลองลงในบีกเกอร ๙.๒.๓.๔ สังเกตดูวาเสนใยละลายหมด หรือออนตัวลงเปนพลาสติก หรือไมละลาย แลวเปรียบเทียบ สมบัติในการละลายของเสนใยตัวทําละลายตามตารางที่ ๒ ๙.๒.๓.๕ สมบัติการละลายสามารถใชทดสอบหาสวนประกอบที่เปนโลหะ (metal component) ในเสนใย ไดดวยการละลายเสนใยในเมทา ครีซอล (m cresol) สวนที่เหลือจากการละลายซึ่งมีลักษณะ – – มันวาวจะเปนสวนประกอบที่เปนโลหะ - ๖ - มผช.๒๔๗/๒๕๕๒ ตารางที่ ๒ การละลายของเสนใย (ขอ ๙.๒.๓) ชนิดเสนใย ก รด ก ตัวทําละลาย กรดเกลเชียลแอซีติ แอซีโทน โซเดียมไฮโป คลอไ กรดไฮโดรคลอริก กรดฟอรมิก 1,4-ไดออกเซน เมทา-ไซลีน ไซโคลเฮกซาโนน ไดเมิลฟอรมาไมด กรดซัลฟวริก กรดซัลฟวริก เมทา-ครีซอล กรดไฮโดร ฟลูออริ กรดไนตริก กรดไนตริก ความเขมขน 100 100 5 20 85 100 100 100 100 59.5 70 100 50 63.5 63.5 (รอยละ) อุณหภูมิ 20 20 20 20 20 101 139 156 90 20 38 139 50 100 25 (องศาเซลเซียส) เวลา (นาที) 5 5 20 10 5 5 5 5 10 20 20 5 20 5 5 แอซีเตต ล ล ม ม ล ล ม ล ล ล ล ล อะคริลิก ม ม ม ม ม ม ม ม ล ม ม พ ม ล ล ฝายและลินิน ม ม ม ม ม ม ม ม ม ม ล ม ม ล ล ไนลอน ม ม ม ล ล ม ม ม น ล ล ล ล ล พอลิเอสเตอร ม ม ม ม ม ม ม ม ม ม ม ล ม ล ม วิสโคส(เรยอน) ม ม ม ม ม ม ม ม ม ล ล ม ม ล ล ไหม ม ม ล ม ม ม ม ม ม ล ล ม ม ขนสัตว  ม ม ล ม ม ม ม ม ม ม ม ม ล ม หมายเหตุ ๑. ล หมายถึง ละลาย ๒. พ หมายถึง เปนพลาสติก ๓. ม หมายถึง ไมละลาย ๔. น หมายถึง ไนลอน 6 ละลาย ไนลอน 6,6 ไมละลาย - ๗ -

See more

The list of books you might like

Most books are stored in the elastic cloud where traffic is expensive. For this reason, we have a limit on daily download.