ebook img

TCPS 1332-2555: KAI YO (CHICKEN BOLOGNA) PDF

2012·0.54 MB·Thai
Save to my drive
Quick download
Download
Most books are stored in the elastic cloud where traffic is expensive. For this reason, we have a limit on daily download.

Preview TCPS 1332-2555: KAI YO (CHICKEN BOLOGNA)

Kingdom of Thailand ≠ EDICT OF GOVERNMENT ± In order to promote public education and public safety, equal justice for all, a better informed citizenry, the rule of law, world trade and world peace, this legal document is hereby made available on a noncommercial basis, as it is the right of all humans to know and speak the laws that govern them. TCPS 1332-2555 (2012) (Thai): KAI YO (CHICKEN BOLOGNA) มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน THAI COMMUNITY PRODUCT STANDARD มผช.๑๓๓๒/๒๕๕๕ ไกยอ CHICKEN SAUSAGES, KAI YOR สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ICS 67.120.20 ISBN 978-616-231-393-6 มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ไกย อ มผช.๑๓๓๒/๒๕๕๕ สํานักงานมาตรฐานผลิตภณั ฑอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ ๖ กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ โทรศัพท ๐–๒๒๐๒–๓๓๖๓-๔ ประกาศสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ฉบับที่ ๑๗๗๓ (พ.ศ. ๒๕๕๕) เรื่อง ยกเลกิ และกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑชมุ ชน ไกยอ โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ไกยอ มาตรฐานเลขที่ มผช.๑๓๓๒/๒๕๔๙ และคณะอนุกรรมการพิจารณามาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน คณะที่ ๑ มีมติในการประชุมครั้งที่ ๒๔-๒/๒๕๕๕ เมื่อวันที่ ๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ใหยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ไกยอ มาตรฐานเลขที่ มผช. ๑๓๓๒/๒๕๔๙ และกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ไกยอ ขึ้นใหม สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมจึงออกประกาศยกเลิกประกาศสํานักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ฉบับที่ ๑๓๘๑ (พ.ศ. ๒๕๔๙) ลงวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙ และออกประกาศ กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ไกยอ มาตรฐานเลขที่ มผช.๑๓๓๒/๒๕๕๕ ขึ้นใหม ดังมีรายละเอียดตอทาย ประกาศนี้ ทั้งนี้ ใหมีผลบังคับใชนบั แตวนั ที่ประกาศ เปนตน ไป ประกาศ ณ วนั ที่ ๓๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ นายณัฐพล ณัฏฐสมบูรณ  เลขาธิการสํานกั งานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม มผช.๑๓๓๒/๒๕๕๕ มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ไกยอ ๑. ขอบขาย ๑.๑ มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนนี้ครอบคลุมไกยอที่ทําจากเนื้อไกและไขมันเปนสวนประกอบหลัก อาจมี สวนผสมอื่น เชน เห็ดหอม พริกไทยดํา สาหราย หุมหอหรือบรรจุในบรรจุภัณฑที่เหมาะสม ๒. บทนิยาม ความหมายของคําที่ใชในมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนน ี้ มีดังตอไปน ี้ ๒.๑ ไกยอ หมายถึง ผลิตภัณฑที่ทําจากเนื้อไก ไขมัน เครื่องเทศ เครื่องปรุงรส เชน พริกไทย เกลือ น้ําตาล อาจมีสวนประกอบอื่น เชน โปรตีนนม โปรตีนพืช แปงมันสําปะหลัง นํามาบดและนวดผสมจนเปนเนื้อ เดียวกันที่อุณหภูมิต่ําโดยใชน้ําแข็งหรือวิธีอื่นที่เหมาะสม อาจเติมสวนผสมอื่น เชน เห็ดหอม พริกไทยดาํ สาหราย คลุกเคลาใหเขากัน บรรจุในวัสดุหอหุมหรือบรรจุในภาชนะบรรจุที่เหมาะสมใหแนน แลวนําไป ตมหรือนึ่งจนสุก (โดยทั่วไปอุณหภูมิจุดกึ่งกลางภายในไมต่ํากวา ๗๒ องศาเซลเซียส) ๒.๒ ไขมัน หมายถงึ ไขมันจากสตั ว เชน ไก เปด หรือไขมันพืช เชน น้ํามนั พืช ๓. คุณลักษณะที่ตองการ ๓.๑ ลักษณะทั่วไป ลักษณะภายนอกตองเรียบรอย สะอาด ไมแ ฉะ การทดสอบใหทําโดยการตรวจพินิจ ๓.๒ ลักษณะเนื้อสมั ผัส ตองสุกและละเอียดเปนเนื้อเดียวกัน แนน ยืดหยุน ไมยุย อาจมีโพรงอากาศไดเล็กนอย กรณีที่มีสวนผสม อื่นตองเปนไปตามที่ระบุไวที่ฉลากและกระจายตัวสม่ําเสมอ การทดสอบใหทําโดยการตรวจพินิจและชิม ๓.๓ สี ตองมีสีดตี ามธรรมชาติของไกยอและสวนประกอบที่ใช ๓.๔ กลิ่นรส ตองมีกลิ่นรสที่ดีตามธรรมชาติของไกยอและสวนประกอบที่ใช ไมมีกลิ่นรสอื่นที่ไมพึงประสงค เชน กลิ่นบูด รสเปรี้ยว เมื่อตรวจสอบโดยวิธีใหคะแนนตามขอ ๘.๑ แลว ตองไมมีลักษณะใดได ๑ คะแนน จากผูตรวจสอบคนใดคนหนึ่ง - ๑ - มผช.๑๓๓๒/๒๕๕๕ ๓.๕ สิ่งแปลกปลอม ตองไมพบสิ่งแปลกปลอมที่ไมใชสวนประกอบที่ใช เชน กระดูก เสนผม ดิน ทราย กรวด ชิ้นสวนหรือ สิ่งปฏิกูลจากสัตว การทดสอบใหทําโดยการตรวจพินิจ ๓.๖ โปรตีน ตองไมนอยกวารอยละ ๑๓ โดยน้ําหนัก และตองไมนอยกวารอยละ ๑๐ โดยนา้ํ หนกั กรณีที่มีสวนผสมอื่น การทดสอบใหปฏิบัตติ าม AOAC หรือวิธีทดสอบอื่นทเี่ ทียบเทา ๓.๗ ไขมัน ตองไมเกินรอยละ ๒๕ โดยน้ําหนัก การทดสอบใหปฏิบัตติ าม AOAC หรือวิธีทดสอบอื่นทเี่ ทียบเทา ๓.๘ แปง ตองไมเกินรอยละ ๒ โดยน้ําหนัก การทดสอบใหปฏิบัตติ าม AOAC หรือวิธีทดสอบอื่นทเี่ ทียบเทา ๓.๙ วัตถุเจือปนอาหาร ๓.๙.๑ หามใชสีสังเคราะหทุกชนิด ๓.๙.๒ หากมีการใชวัตถุกันเสีย ใหใชไดตามชนิดและปริมาณที่กฎหมายกําหนด ๓.๙.๓ หากมีการใชฟอสเฟตในรูปของโมโน- ได- และพอลิของเกลือโซเดียมหรือโพแทสเซียม อยางใด อยางหนึ่งหรือรวมกัน ตามชนิดที่กฎหมายกําหนด (คํานวณเปนฟอสฟอรัสทั้งหมด) ตองไมเกิน ๒ ๒๐๐ มิลลิกรัมตอกิโลกรัม โดยไมรวมกับปริมาณฟอสฟอรัสที่มีในธรรมชาติ* การทดสอบใหปฏิบัติตาม AOAC หรือวิธีทดสอบอื่นที่เทียบเทา หมายเหตุ *ปริมาณฟอสฟอรัสที่มีอยูในธรรมชาติ คํานวณจากสูตรที่อางอิงจากโคเดกซ (CODEX STAN 97-1981 Revision 1991) ดังนี้ ปริมาณฟอสเฟตในธรรมชาติ (mg/kg P O ) = ๒๕๐ %โปรตีน (คาที่ทดสอบได) 2 5 × ปริมาณฟอสฟอรัสในธรรมชาติ (mg/kg P) = ปริมาณฟอสเฟตในธรรมชาติ ๒.๓ ๓.๑๐ จุลินทรีย ๓.๑๐.๑ จํานวนจุลินทรียทั้งหมด ตอ งนอยกวา ๑ ๑๐๖ โคโลนีตอตัวอยาง ๑ กรัม × ๓.๑๐.๒ แซลโมเนลลา ตองไมพบในตัวอยาง ๒๕ กรัม ๓.๑๐.๓ สแตฟโลค็อกคัส ออเรียส ตอ งนอยกวา ๑๐๐ โคโลนตี อตัวอยาง ๑ กรัม ๓.๑๐.๔ บาซิลลัส ซีเรียส ตองนอยกวา ๑๐๐ โคโลนีตอตัวอยาง ๑ กรัม ๓.๑๐.๕ คลอสทริเดียม เพอรฟริงเจนส ตองนอยกวา ๑๐๐ โคโลนตี อตัวอยาง ๑ กรัม ๓.๑๐.๖ ลิสเทอเรีย มอนอไซโทจีเนส ตองไมพบในตัวอยา ง ๒๕ กรัม ๓.๑๐.๗ วิบริโอ คอเลอรา ตองไมพบในตัวอยาง ๒๕ กรัม ๓.๑๐.๘ เอสเชอริเชีย โคไล โดยวิธีเอ็มพีเอ็น ตองนอยกวา ๓ ตอตัวอยาง ๑ กรัม ๓.๑๐.๙ ยีสตและรา ตองนอยกวา ๑๐๐ โคโลนีตอ ตัวอยาง ๑ กรัม การทดสอบใหปฏิบัตติ าม AOAC หรือ BAM (U.S.FDA) หรือวิธที ดสอบอื่นที่เทียบเทา - ๒ - มผช.๑๓๓๒/๒๕๕๕ ๔. สุขลักษณะ ๔.๑ สุขลักษณะในการทําไกยอ สถานประกอบการตองไดรับอนุญาตจากกระทรวงสาธารณสุข และใหเปนไป ตามคําแนะนําตามภาคผนวก ก. ๕. การบรรจุ ๕.๑ ใหหุมหอหรือบรรจุไกยอดวยวัสดุหรือบรรจุภัณฑที่สะอาด ปดไดสนิท และสามารถปองกันสิ่งปนเปอน จากภายนอกได โดยสวนที่สัมผัสกับหมูยอตองไมมีสี (ยกเวนวัสดุจากธรรมชาติ) การทดสอบใหทําโดยการตรวจพินิจ ๕.๒ น้ําหนักสุทธิของไกยอในแตละภาชนะบรรจุ ตองไมนอยกวาที่ระบุไวที่ฉลาก การทดสอบใหใ ชเครื่องชั่งที่เหมาะสม ๖. เครื่องหมายและฉลาก ๖.๑ ที่ภาชนะบรรจุไกยอทุกหนวย อยางนอยตองมีเลข อักษร หรือเครื่องหมายแจงรายละเอียดตอไปนี้ ใหเห็นไดงาย ชัดเจน (๑) ชื่อผลิตภัณฑ (ตาม มผช.) อาจตามดวยชื่อเรียกผลิตภัณฑ เชน ไกยอสมุนไพร (๒) สวนประกอบที่สําคัญ เปนรอยละของน้ําหนักโดยประมาณและเรียงจากมากไปนอย (๓) ชนิดและปริมาณวัตถุเจือปนอาหาร (ถามี) กรณีใชวัตถุกันเสีย ใหระบุขอความวา “ใชวัตถุกันเสีย” (๔) น้ําหนักสุทธิ เปนกรัมหรือกิโลกรัม (๕) วัน เดือน ปที่ทํา และวัน เดือน ปที่หมดอายุ หรือขอความวา “ควรบริโภคกอน (วัน เดือน ป)” (๖) ขอแนะนําในการบริโภคและการเก็บรักษา เชน ควรเก็บรักษาโดยการแชเย็น กอนรับประทานควร ผานความรอน (๗) เลขสารบบอาหาร (๘) ชื่อผูทําหรือสถานที่ทํา พรอมสถานที่ตั้ง หรือเครื่องหมายการคาที่จดทะเบียน ในกรณีที่ใชภาษาตา งประเทศ ตองมีความหมายตรงกับภาษาไทยทกี่ ําหนดไวขางตน - ๓ - มผช.๑๓๓๒/๒๕๕๕ ๗. การชักตัวอยางและเกณฑตัดสิน ๗.๑ รุน ในทนี่ ี้ หมายถึง ไกยอทมี่ ีสวนประกอบเดียวกัน ทําโดยกรรมวิธีเดียวกัน ในระยะเวลาเดียวกัน ๗.๒ การชักตัวอยางและการยอมรับ ใหเปนไปตามแผนการชักตัวอยางที่กําหนดตอไปนี้ ๗.๒.๑ การชักตัวอยางและการยอมรับสําหรับการทดสอบลักษณะทั่วไป ลักษณะเนื้อสัมผัส สี กลิ่นรส สิ่งแปลกปลอม การบรรจุ และเครื่องหมายและฉลาก ใหชักตัวอยางโดยวิธีสุมจากรุนเดียวกัน จํานวน ๓ หนวยภาชนะบรรจุ เมื่อตรวจสอบแลวทุกตัวอยางตองเปนไปตามขอ ๓.๑ ถึงขอ ๓.๕ ขอ ๖. และขอ ๗. จึงจะถือวาไกยอรุนนั้นเปนไปตามเกณฑที่กําหนด ๗.๒.๒ การชักตัวอยางและการยอมรับสําหรับการทดสอบโปรตีน ไขมัน แปง และวัตถุเจือปนอาหาร ใหชักตัวอยางโดยวิธีสุมจากรุนเดียวกัน จํานวน ๓ หนวยภาชนะบรรจุ เพื่อทําเปนตัวอยางรวม โดยมีน้ําหนักรวมไมนอยกวา ๓๐๐ กรัม กรณีตัวอยางไมพอใหชักตัวอยางเพิ่มโดยวิธีสุมจากรุน เดียวกันใหไดตัวอยางที่มีน้ําหนักรวมตามที่กําหนด เมื่อตรวจสอบแลวตัวอยางตองเปนไปตามขอ ๓.๖ ถึงขอ ๓.๙ จึงจะถือวาไกยอรุนนั้นเปนไปตามเกณฑที่กําหนด ๗.๒.๓ การชักตัวอยางและการยอมรับสําหรับการทดสอบจุลินทรีย ใหชักตัวอยางโดยวิธีสุมจากรุนเดียวกัน จํานวน ๓ หนวยภาชนะบรรจุ เพื่อทําเปนตัวอยางรวม โดยมีน้ําหนักรวมไมนอยกวา ๓๐๐ กรัม กรณีตัวอยางไมพอใหชักตัวอยางเพิ่มโดยวิธีสุมจากรุนเดียวกันใหไดตัวอยางที่มีน้ําหนักรวมตามที่ กําหนด เมื่อตรวจสอบแลวตัวอยางตองเปนไปตามขอ ๓.๑๐ จึงจะถือวาไกยอรุนนั้นเปนไปตาม เกณฑที่กําหนด ๗.๓ เกณฑตัดสนิ ตัวอยางไกยอตองเปนไปตามขอ ๗.๒.๑ ขอ ๗.๒.๒ และขอ ๗.๒.๓ ทุกขอ จึงจะถือวาไกยอรุนนั้น เปนไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนนี้ ๘. การทดสอบ ๘.๑ การทดสอบสีและกลิ่นรส ๘.๑.๑ ใหแตงตั้งคณะผูตรวจสอบ ประกอบดวยผูที่มีความชํานาญในการตรวจสอบไกยออยางนอย ๕ คน แตละคนจะแยกกันตรวจและใหคะแนนโดยอิสระ ๘.๑.๒ วางตัวอยางหมูยอลงบนจานกระเบื้องสีขาว ตรวจสอบสีโดยการตรวจพินิจ นําตัวอยางไกยอไปให ความรอนที่อุณหภูมิและระยะเวลาที่เหมาะสม ตรวจสอบกลิ่นรสโดยการชิมภายในเวลา ๓๐ นาที หลังจากใหความรอน ๘.๑.๓ หลักเกณฑการใหคะแนน ใหเ ปนไปตามตารางท ี่ ๑ - ๔ - มผช.๑๓๓๒/๒๕๕๕ ตารางที่ ๑ หลักเกณฑก ารใหคะแนนในการทดสอบสแี ละกลิ่นรส (ขอ ๘.๑.๓) ลักษณะที่ตรวจสอบ ระดับการตดั สิน คะแนนที่ไดรบั สี สีดีตามธรรมชาติของไกยอและสวนประกอบที่ใช ๓ สีพอใชตามธรรมชาติของไกย อและสวนประกอบที่ใช ๒ สีผิดปกติหรือมีการเปลี่ยนสี ๑ กลิ่นรส กลิ่นรสที่ดีตามธรรมชาติของไกยอและสวนประกอบทใี่ ช ๓ กลิ่นรสพอใชตามธรรมชาตขิ องไกยอและสวนประกอบที่ใช ๒ กลิ่นรสผิดปกติหรือมีกลิ่นรสอื่นที่ไมพึงประสงค เชน กลิ่นบูด ๑ รสเปรี้ยว - ๕ -

See more

The list of books you might like

Most books are stored in the elastic cloud where traffic is expensive. For this reason, we have a limit on daily download.