ebook img

TCPS 1095-2548: MUSICAL INSTRUMENT : METAL XYLOPHONE PDF

2005·0.54 MB·Thai
Save to my drive
Quick download
Download
Most books are stored in the elastic cloud where traffic is expensive. For this reason, we have a limit on daily download.

Preview TCPS 1095-2548: MUSICAL INSTRUMENT : METAL XYLOPHONE

Kingdom of Thailand ≠ EDICT OF GOVERNMENT ± In order to promote public education and public safety, equal justice for all, a better informed citizenry, the rule of law, world trade and world peace, this legal document is hereby made available on a noncommercial basis, as it is the right of all humans to know and speak the laws that govern them. TCPS 1095-2548 (2005) (Thai): MUSICAL INSTRUMENT : METAL XYLOPHONE มผช.๑๐๙๕/๒๕๔๘ มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ระนาดเหล็ก ๑. ขอบขาย ๑.๑ มาตรฐานผลติ ภณั ฑช มุ ชนนคี้ รอบคลมุ เฉพาะระนาดเหลก็ ทที่ าํ ดว ยทองเหลอื งหรอื เหลก็ และไมเ ปน วสั ดหุ ลกั ไมค รอบคลมุ ถงึ ระนาดเหล็กจําลองที่สรางขึ้นเพื่อใชเปนของประดับตกแตงหรือเปนของที่ระลึก ๒. บทนิยาม ความหมายของคําที่ใชในมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนนี้ มีดังตอไปนี้ ๒.๑ ระนาดเหลก็ หมายถงึ เครอื่ งดนตรไี ทยประเภทเครอื่ งตชี นดิ หนงึ่ ประกอบดว ยตวั ระนาดและไมต ี ตวั ระนาด ประกอบดวยรางระนาดและลูกระนาด รางระนาดทําดวยไมชนิดที่เหมาะสม ขอบรางวางพาดดวยไมระกํา หรือไมชนิดอื่นพันดวยผา ดานลางทั้ง ๔ มุมมีเทารองติดลูกลอเพื่อสะดวกในการเคลื่อนยาย และอาจแกะ สลักลายลงรักปดทองเพื่อความสวยงาม สวนลูกระนาดทําจากทองเหลืองหรือเหล็ก เจียตอนกลางดานลาง เพื่อใหไดระดับเสียงที่ถูกตองไดมาตรฐานและสัมพันธกับระดับเสียงของเครื่องดนตรีไทยชนิดอื่น สามารถ นาํ ไปบรรเลงในโอกาสตา งๆ ได  สาํ หรบั ไมต ี กา นทาํ ดว ยไมไ ผ  หวั ไมท าํ ดว ยหนงั เรยี กวา ไมแ ขง็ หรือผา เรียกวา ไมนวม ดังรูปที่ ๑ ไมตี ขอบราง ลูกระนาด ตัวระนาด รางระนาด เทารอง เทารอง รูปที่ ๑ ตัวอยางระนาดเหล็ก (ขอ ๒.๑) - ๑ - มผช.๑๐๙๕/๒๕๔๘ ๓. ประเภท ๓.๑ ระนาดเหล็ก แบงออกเปน ๒ ประเภท คือ ๓.๑.๑ ระนาดเอกเหล็ก หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวา ระนาดทอง เปนระนาดขนาดเล็ก มีลูกระนาด ๒๑ ลูก และ มีเสียงแหลมสูง ๓.๑.๒ ระนาดทุมเหล็ก เปนระนาดขนาดใหญกวา มีลูกระนาด ๑๗ ลูก และมีเสียงทุมต่ํา ๔. คุณลักษณะที่ตองการ ๔.๑ ลักษณะทั่วไป ๔.๑.๑ ตวั ระนาด ตอ งประณตี ไมป รากฏขอ บกพรอ ง เชน รอยราว รอยแตก สนิม รองรอยการเจาะกัดกินของแมลง รางระนาดมลี กั ษณะคลา ยหบี สเี่หลยี่ ม มขี นาดและสดั สว นทเี่หมาะสม ลกู ระนาดมลี กั ษณะเปน สเี่หลยี่ ม ผนื ผา ยาวหรอื อาจทาํ เปน แผง ๔ แผง (ระนาดเอกเหลก็ ๑ แผงมลี กู ระนาด ๕ ลกู ถงึ ๖ ลกู และระนาด ทมุ เหลก็ ๑ แผงมลี กู ระนาด ๔ ลกู ถงึ ๕ ลกู ) เมอื่ วางลกู ระนาดตามทผี่ ทู าํ ระบแุ ลว ลกู ระนาดตอ งไม สมั ผสั กบั รางระนาดและลกู ระนาดขา งเคยี ง มขี นาดและระดบั เสยี งลดหลนั่ ลงไปตามลาํ ดบั จนครบจาํ นวน ตามประเภทของระนาดเหลก็ ๔.๑.๒ ไมต ี ไมตี ๑ คู ตองมีขนาดและน้ําหนักใกลเคียงกัน หัวไมไมคลอน ๔.๒ การใชงาน เมอื่ ตรี ะนาดเหลก็ แลว ตอ งมรี ะดบั เสยี งทถี่ กู ตอ งตามเสยี งมาตรฐาน ดงั กงั วานชดั เจน ไมท บึ หรอื แตกพรา เมื่อตรวจสอบโดยวิธีใหคะแนนตามขอ ๘.๑ แลว ตองไดคะแนนเฉลี่ยของแตละลักษณะจากผูตรวจสอบทุกคน ไมนอยกวา ๓ คะแนน และไมมีลักษณะใดได ๑ คะแนนจากผูตรวจสอบคนใดคนหนึ่ง ๕. การบรรจุ ๕.๑ หากมกี ารบรรจ ุ ใหบ รรจรุ ะนาดเหลก็ ในภาชนะบรรจทุ สี่ ะอาด แหง เรยี บรอ ย และสามารถปอ งกนั ความเสยี หาย ที่อาจเกิดขึ้นกับระนาดเหล็กได - ๒ - มผช.๑๐๙๕/๒๕๔๘ ๖. เครื่องหมายและฉลาก ๖.๑ ทฉี่ ลากหรอื ภาชนะบรรจรุ ะนาดเหลก็ ทกุ หนว ย อยา งนอ ยตอ งมเี ลข อกั ษร หรอื เครอื่ งหมายแจง รายละเอยี ด ตอไปนี้ใหเห็นไดงาย ชัดเจน (๑) ชื่อเรียกผลิตภัณฑ เชน ระนาดเอกเหล็ก ระนาดทอง ระนาดทุมเหล็ก (๒) ขนาดหรือมิติ (๓) เดือน ปที่ทํา (๔) ขอแนะนําในการเรียงลูกระนาด การใชงาน และการดูแลรักษา (๕) ชื่อผูทําหรือสถานที่ทํา พรอมสถานที่ตั้ง หรือเครื่องหมายการคาที่จดทะเบียน ในกรณีที่ใชภาษาตางประเทศ ตองมีความหมายตรงกับภาษาไทยที่กําหนดไวขางตน ๗. การชักตัวอยางและเกณฑตัดสิน ๗.๑ รุน ในที่นี้ หมายถึง ระนาดเหล็กที่ทําหรือสงมอบหรือซื้อขายในระยะเวลาเดียวกัน ๗.๒ การชักตัวอยางและการยอมรับ ใหเปนไปตามแผนการชักตัวอยางที่กําหนดตอไปนี้ ๗.๒.๑ การชกั ตวั อยา งและการยอมรบั สาํ หรบั การทดสอบการบรรจแุ ละเครอื่ งหมายและฉลาก ใหช กั ตวั อยา ง โดยวิธีสุมจากรุนเดียวกัน จํานวน ๑ ตัวอยาง เมื่อตรวจสอบแลวตัวอยางตองเปนไปตามขอ ๕. และ ขอ ๖. จึงจะถือวาระนาดเหล็กรุนนั้นเปนไปตามเกณฑที่กําหนด ๗.๒.๒ การชกั ตวั อยา งและการยอมรบั สาํ หรบั การทดสอบลกั ษณะทวั่ ไปและการใชง าน ใหใ ชต วั อยา งทผี่ า นการ ทดสอบตามขอ ๗.๒.๑ แลว จาํ นวน ๑ ตวั อยา ง เมอื่ ตรวจสอบแลว ตวั อยา งตอ งเปน ไปตามขอ ๔.๑ และขอ ๔.๒ จงึ จะถอื วา ระนาดเหลก็ รนุ นนั้ เปน ไปตามเกณฑท กี่ าํ หนด ๗.๓ เกณฑตัดสิน ตวั อยา งระนาดเหลก็ ตอ งเปน ไปตามขอ ๗.๒.๑ และขอ ๗.๒.๒ ทกุ ขอ จงึ จะถอื วา ระนาดเหลก็ รนุ นนั้ เปน ไป ตามมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนนี้ ๘. การทดสอบ ๘.๑ การทดสอบลักษณะทั่วไปและการใชงาน ๘.๑.๑ ใหแ ตง ตงั้ คณะผตู รวจสอบ ประกอบดว ยผทู มี่ คี วามชาํ นาญในการตรวจสอบระนาดเหลก็ อยา งนอ ย ๕ คน แตละคนจะแยกกันตรวจและใหคะแนนโดยอิสระ ๘.๑.๒ หลักเกณฑการใหคะแนน ใหเปนไปตามตารางที่ ๑ - ๓ - มผช.๑๐๙๕/๒๕๔๘ ตารางที่ ๑ หลักเกณฑการใหคะแนน (ขอ ๘.๑.๒) ระดับการตัดสิน (คะแนน) ลักษณะที่ตรวจสอบ เกณฑที่กําหนด ดีมาก ดี พอใช ตองปรับปรุง ลักษณะทั่วไป ตัวระนาด ๔ ๓ ๒ ๑ ตอ งประณตี ไมป รากฏขอ บกพรอ ง เชน รอยราว รอยแตก สนิม รองรอยการเจาะ กัดกินของแมลง รางระนาดมลี กั ษณะคลา ย หบี สเี่หลยี่ ม มขี นาดและสดั สว นทเี่หมาะสม ลกู ระนาดมลี กั ษณะเปน สเี่ หลยี่ มผืนผายาว หรอื อาจทาํ เปน แผง ๔ แผง (ระนาดเอก เหลก็ ๑ แผงมลี กู ระนาด ๕ ลกู ถงึ ๖ ลกู และระนาดทมุ เหลก็ ๑ แผงมลี กู ระนาด ๔ ลกู ถงึ ๕ ลกู ) เมอื่ วางลกู ระนาดตามทผี่ ทู าํ ระบุแลว ลูกระนาดตองไมสัมผัสกับราง ระนาดและลกู ระนาดขา งเคยี ง มีขนาดและ ระดับเสียงลดหลั่นลงไปตามลาํ ดบั จนครบ จาํ นวนตามประเภทของระนาดเหลก็ ไมต ี ๔ ๓ ๒ ๑ ไมต ี ๑ ค ู ตอ งมขี นาดและนา้ํ หนกั ใกลเ คยี ง กัน หัวไมไมคลอน การใชงาน เมื่อตีระนาดเหล็กแลวตองมีระดับเสียงที่ ๔ ๓ ๒ ๑ ถกู ตอ งตามเสยี งมาตรฐาน ดงั กงั วานชดั เจน ไมท บึ หรอื แตกพรา ๘.๒ การทดสอบการบรรจุและเครื่องหมายและฉลาก ใหตรวจพินิจ - ๔ -

See more

The list of books you might like

Most books are stored in the elastic cloud where traffic is expensive. For this reason, we have a limit on daily download.